Blog entries categorized under บทความด้านเทคโลโนยีก๊าซชีวภาพ
ทฤษฎีที่ใช้ในการผลิตก๊าซชีวภาพ มีอะไรบ้าง
กระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพเป็นกระบวนการแบบไม่ใช้อากาศ ประกอบด้วยปฏิกิริยา 4 ขั้นตอนหลัก ซึ่งรวมเรียกว่า Anaerobic digestion ซึ่งมีรายละเอียดของปฏิกิริยาแต่ละขั้นตอน ดังนี้
1.1 Hydrolysis เป็นขั้นตอนที่ย่อยสลายสารโมเลกุลสารประกอบอินทรีย์เชิงซ้อนขนาดใหญ่ให้ เปลี่ยนไปอยู่ในรูปที่ละลายน้ำได้ มีความซับซ้อนน้อยลง และขนาดโมเลกุลเล็กลง สำหรับน้ำเสียประเภทแป้งจะเป็นการเปลี่ยนแป้งเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว และน้ำตาลโมเลกุลคู่
...
ก๊าซชีวภาพ คืออะไร
สวัสดีครับทุกท่าน กลับมาพบกับผม Dr.UBA ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการน้ำและสิ่งแวดล้อมกันอีกครั้งนะครับ วันนี้ Dr.UBA จะมาให้ความรู้เรื่อง ก๊าซชีวภาพ กันนะครับ ก๊าซชีวภาพ เกิดจากกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ โดยจุลินทรีย์ไม่ใช้อากาศ ส่วนประกอบหลักคือ ก๊าซมีเทน (CH4) 60-70% คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 30-40% และอื่นๆ 1-2% ซึ่งก๊าซมีค่าพลังงานความร้อน 9,000 kCal/m3 หรือ 21,000 kJ/m3 จึงสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ ทั้งเป็นเชื้อเพลิงโดยตรง หรือใช้ในเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้าหากเปรียบเทียบก๊าซชีวภาพ 1 m3
(สัดส่วนมีเทน 60 %) มีค่าความร้อนเทียบเท่า ดังนี้
น้ำมันเบนซิน 0.67 ลิตร น้ำมันดีเซล 0.6 ลิตร
น้ำมันเตา 0.55 ลิตร ฟืนไม้ 1.5 กิโลกรัม
ไฟฟ้า 1.2 kW/hr. ก๊าซหุงต้ม 0.46 กิโลกรัม
...